How Much You Need To Expect You'll Pay For A Good ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

เราชื่อว่า การทําให้คนทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างทั่วถึง เป็นทางออกหนึ่งของปัญหานี้ จะทําให้คนไทยเป็นกําลังทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพและผลิตภาพ ทุกคนสามารถมีชีวิตที่ดีขึ้นได้ หลุดพ้นจากความยากจน ประเทศไทยก็จะสามารถมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจได้

นิพนธ์ พัวพงศกร รำลึกถึง ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาคนสำคัญของไทย ผ่านบทเรียนภาคสนามจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลงานวิจัย

แผนกลยุทธ์/แผนการดำเนินงาน แผนกลยุทธ์

“แต่ละภาคส่วนจุดเด่นแตกต่างกัน ส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จุดเด่นอยู่ที่ความคล่องตัวเมื่อทำงานกับภาคประชาสังคม มีอำนาจสั่งการมีการกำหนดโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ประสานงานกับภาครัฐและเอกชนได้ง่าย ส่วนภาครัฐมีอำนาจสั่งการ สามารถวางรากฐานที่เชิงนโยบายและโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีทรัพยากรเป็นของตนเอง แต่มีความไม่คล่องตัวเนื่องจากระเบียบวิธีทางงบประมาณของภาครัฐ ขณะที่ภาคประชาสังคมจะขาดอำนาจในการสั่งการโดยตรง ขณะเดียวกันภาคประชาสังคมก็ทำงานแนวราบได้ดี แต่ขาดการเชื่อมโยงกับภาครัฐในการช่วยเหลือน้องๆ สุดท้ายภาควิชาการทำให้เกิดความร่วมมือที่หลากหลาย”

เพราะการเรียนรู้ทำให้เกิดศักยภาพการสอนที่เพิ่มมากขึ้น

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

โครงการพัฒนาระบบทดลองการพัฒนาทักษะแรงงานที่ขาดแคลนทุนทรัพย์และด้อยโอกาส

การปฏิรูประบบค่าปรับในกฎหมายไทยเพื่อประสิทธิภาพในการลงโทษและความเป็นธรรมในสังคม

การเพิ่มจำนวนครูต่อนักเรียนจะทำให้นักเรียนได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น ช่วยลดปัญหาเด็กนักเรียนที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลัง และช่วยส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน 

ตัวเลขดังกล่าวอาจดูเป็นสัญญาณที่ดี แต่ถ้ามองให้ลึกไปกว่านั้น เราจะพบว่า เด็กจำนวนมากยังถูกกีดกันออกจากระบบการศึกษา หรือได้เรียนแต่ไปไม่ถึงปลายทาง ทั้งหมดนี้สะท้อนว่า แม้สถานการณ์การศึกษาดูเหมือนจะดีขึ้น แต่ความเหลื่อมล้ำไม่ได้หมดไป และความเสมอภาคยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงกับทุกคน อัตราการเข้าเรียนที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นเพียงยอดภูเขาน้ำแข็งที่ซ่อนปัญหามากมายเอาไว้ข้างใต้ และทิ้งโจทย์ใหญ่ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะในประเทศที่ยังมีปัญหาเรื่องระบบการศึกษา ต้องนำมาขบคิดกันต่อว่า จะทำอย่างไรให้ระบบการศึกษาเท่าเทียมและเสมอภาคอย่างแท้จริง รวมถึงจะปรับระบบการศึกษาอย่างไรให้เข้ากับโลกยุคปัจจุบันด้วย

การส่งเสริมกิจกรรม และการส่งเสริมทักษะพิเศษต่างๆ นอกจากช่วยให้เด็ก และเยาวชนได้เรียนรู้ และพัฒนาทักษะใหม่ๆ ที่รอบด้าน และหลากหลาย นอกเหนือไปจากทักษะทางด้านวิชาการแล้ว การส่งเสริมกิจกรรมยังช่วยทำให้เด็กนักเรียนได้มีโอกาสผ่อนคลายจากเรียน และทำให้ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของโรงเรียนลดลงไปได้เช่นกัน 

เมื่อกล่าวถึงความไม่เท่าเทียม และความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษาอาจทำให้มองเห็นภาพของความเหลื่อมล้ำไม่ชัดเจนมากนัก แต่เมื่อมองปัญหาที่ส่งผลให้เกิดความไม่เท่าเทียม อาจทำให้ภาพของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาแสดงออกมาได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยสะท้อนผ่านปัญหาในมิติต่างๆ ซึ่งแม้มีการพยายามแก้ไขเพื่อลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำ แต่กลับพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษายังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยปัญหาที่สะท้อนความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษา มีดังต่อไปนี้

แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี

The cookie is up to date whenever facts is shipped to Google Analytics. Any exercise by a person throughout the 30 moment everyday living span will rely as an individual take ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา a look at, even though the consumer leaves and afterwards returns to the location. A return immediately after half an hour will depend as a different take a look at, but a returning visitor.

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *